วันพฤหัสบดีที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2554

ผลงานครั้งที่ 5 ออกแบบ Wallpaper

Wallpaper 1 หัวข้อ Educational Technology


Wallpaper 2 สื่อสารเป็นเลิศ อัต ลักษณ์ครูยุคใหม่


Wallpaper 3 ศึกษาศาสตร์ก้าวไกล


Wallpaper 4 สังคมออนไลน์ มหันตภัย ที่ใกล้ตัว

วันพุธที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2554

วันพฤหัสบดีที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2554

ผลงานครั้งที่ 4 กิจกรรมการออกแบบ Templete PowerPoint(ชุดที่1) ใช้หลัการวางโครงสี Analogus

Template หน้า 1 หัวเรื่อง(Thai Version)



Template หน้า 2 เนื้อหา(Thai Version)


Template หน้า 3 ขอบคุณ(Thai Version)


Template หน้า 1 หัวเรื่อง(English Version)


Template หน้า 2 เนื้อหา(English Version)


Template หน้า 3 ขอบคุณ(English Version)

วันจันทร์ที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2554

ผลงานครั้งที่ 3 ออกแบบ Poster 5 หัวข้อ


รณรงค์การใช้ 13 ฟอนต์แห่งชาติ ใช้เทคการวางโครงสี Monochrome


รณรงค์ให้สวมหมวกนิรภัย ใช้เทคการวางโครงสี Triads


รณรงค์ให้งดสูบบุหรี่ในสถานศึกษา และห้ามสูบบุหรี่ในขณะใส่ชุดนิสิต
ใช้เทคการวางโครงสี Dyads


รณรงค์มารยาทไทย การไหว้ กล่าวคำขอบคุณ ขอโทษ และแสดงการมีน้ำใจ
ใช้เทคการวางโครงสี Analogus


รณรงค์การลดใช้พลังงานไฟฟ้า(หัวข้ออิสระ)
ใช้เทคการวางโครงสี Tetrads

วันพฤหัสบดีที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2554

วันพุธที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2554

การออกแบบ Graphic ลงบน Poster


โปรสเตอร์ของภาพยนตร์ เรื่อง Tron Legacy จากประเทศสหรัฐอเมริกา

การวางตำแหน่งจุดสนใจในงาน(Focus Point)
จะเน้นอะไรในงานที่ต้องการนำเสนอสิ่งที่ต้องการสร้างให้เด่นที่สุด งานที่เรากำลังจะออกแบบเป็นตาราง 9 โดยโปรสเตอรืนี้มีการวางตำแหน่งของชื่อเรื่องไว้ตรงตำแหน่งที่ 4 ซึ่งเป็นตำแหน่งที่มีความสำคัญที่สุดในงาน

การสร้างความแตกต่างในงาน(Contrast)
ภาพนี้ใช้กรอบสี่เหลี่ยมที่มีความแตกต่างของรูปข้างใน ทำให้งานออกแบบนี้มีเอกภาพในด้านความแตกต่าง


การวางแยกองค์ประกอบให้โดดเด่น(Isolation)
เป็นวิธีที่ทำให้ผู้ชมงานสังเกตเห็นองค์ประกอบนั้นได้ง่ายซึ่งโปรสเตอร์นี้จัดองค์ประกอบได้เหมาะสมลงตัวมาก

การวางโครงสีในการออกแบบ
โปรสเตอร์นี้จะใช้การวางโครงสีในรูปแบบ Monochrome หรือโครงสีเอกรงค์ ซึ่งมีเนื้อสี Hue เดียว แต่ให้ความแตกต่างด้วยน้ำหนักสีValue สีเอกรงค์นี้ ให้อารมณ์ ความรู้สึก สุขุม เรียบร้อยเป็นสากล ซึ่งเหมาะสมกับตัวเรื่องของหนังได้เป็นอย่างดี

การวางโครงร่าง 5 สี ของงาน Graphic


1. Monochrome
หรือ โครงสีเอกรงค์ คือมีเนื้อสี Hue เดียว แต่ให้ความแตกต่างด้วยน้ำหนักสีValue สีเอกรงค์นี้ ให้อารมณ์ ความรู้สึก สุขุม เรียบร้อยเป็นสากล ไม่ฉูดฉาดสะดุดตา และในด้านการออกแบบเป็นการใช้คู่สีที่ง่ายที่สุด แล้วออกมาดูดี




2. Analogus
หรือโครงสีข้างเคียง คือสีที่อยู่ติดกัน
อยู่ข้างเคียงกัน ในวงจรสี จะเป็นที่ละ 2 หรือ 3 หรือ 4 สีก็ได้
แต่ไม่ควรมากกว่านี้เพราสีอาจจะหลุดจากความข้างเคียง
หรือ หลุดออกจากโครงสีนี้ได้











3. Dyads
หรือโครงสีคู่ตรงข้าม Complementary Colour คือสีที่อยู่ตรงกันข้ามกันในวงจรสี การเลือกใช้สีคู่ตรงข้ามจะทำให้งานที่ได้มีความสะดุดตาในการมองแต่ก็ต้องระวังการใช้สีคู่ตรงข้าม เพราะการเลือกใช้สึคู่ตรงข้ามด้วยกันนั้นถ้าเราหยิบสี 2 สีที่ตรงข้ามกันมาใช้ในพื้นที่พอ ๆ กัน งานนั้นจะดูไม่มีเอกภาพ ซึ่งเป็นหลักสำคัญในการทำงานศิลปะทางที่ดีเราควรแบ่งพื้นที่ของสีในภาพของการใช้สีใดสีหนึ่งมากกว่าอีกสีหนึ่งโดยประมาณมักจะใช้สีหนึ่ง70 % อีกสีหนึ่ง 30 % ภาพที่ได้ก็จะคงความมีเอกภาพอยู่ และยังมีความเด่นสะดุดตาไปได้ในตัว


4. Triads
หรือโครงสี 3 สี คือ
4.1 เป็นการใช้สี 3 สี ในช่วงห่างระหว่างสีทั้ง 3 เท่ากัน ถ้าเราลากเส้นระหว่างสีทั้ง 3 สี เราจะได้สามเหลี่ยมด้านเท่า
4.2 เป็นการใช้สี 3 สี ในช่วงห่างระหว่างสีทั้ง 3 ไม่เท่ากันคือมีช่วงห่าง 2 ช่วงเท่ากัน แต่กับอีกอันหนึ่งช่วงห่างจะยาวกว่า ถ้าลากเส้นระหว่างสีแล้วจะได้สามเหลี่ยมหน้าจั่ว


5 Tetrads
หรือโครงสี 4 สี คือ
5.1 การใช้สีในวงจรสี 4 สี โดยเลือกสีที่มีช่วงห่างระหว่างสีเท่ากันหมดกล่าวคือ ถ้าเราลากเส้นเชื่อมสีทั้ง 4 สีแล้ว เราจะได้สี่เหลี่ยมจัตุรัส
5.2 การใช้สีในวงจรสี 4 สี โดยเลือกสีที่มีช่วงห่างระหว่างสีไม่เท่ากันโดยช่วงห่างของ 2 สีเป็นช่วงสั้นและอีก 2 สีเป็นช่วงยาว กล่าวคือถ้าเราลากเส้นเชื่อมสีทั้ง 4 สีแล้ว เราจะได้สี่เหลี่ยมผืนผ้า